THE DEFINITIVE GUIDE TO วิกฤตคนจน

The Definitive Guide to วิกฤตคนจน

The Definitive Guide to วิกฤตคนจน

Blog Article

มีแนวโน้มทำให้นักศึกษาในกลุ่มครัวเรือนที่ยากจนมีโอกาสในการเข้าถึงการศึกษาระดับสูงได้น้อยลง

ประการที่สาม ช่องว่างระหว่างสิ่งที่ภาคเอกชนควรทำ แต่ไม่ได้ทำ กล่าวคือ การขยายตัวของธุรกิจในประเทศไทยกระทำผ่านการควบรวมซื้อกิจการที่ไม่ได้เป็นการลงทุนและพัฒนานวัตกรรมใหม่ ดังนั้น เศรษฐกิจไทยจึงมีกำลังการผลิตเท่าเดิม เพียงแต่เปลี่ยนเจ้าของเท่านั้น จึงไม่มีนวัตกรรมหรือสินค้าใหม่ๆ ที่จะแข่งขันกับตลาดโลกในอนาคตได้

คำบรรยายวิดีโอ, จากเจ้าของธุรกิจติดกระจก สู่วันนี้ของ “ไกด์เป็ด” เจ้าของทัวร์ญี่ปุ่น

ในระยะยาว  การลงทุนในคนรุ่นใหม่อย่างเท่าเทียมกันถือเป็นประเด็นสำคัญ  คนรุ่นต่อไปจะมีจำนวนน้อยลงเนื่องจากการเปลี่ยนแปลงโครงสร้างประชากรและอัตราการเจริญพันธุ์ลดลง  เด็กทุกคนต้องได้รับความใส่ใจอย่างเท่าเทียมและได้รับโอกาสทางสุขภาพและการศึกษาอย่างเสมอภาคเพื่อให้เด็กเหล่านี้สามารถพัฒนาไปถึงศักยภาพพวกเขาไปถึงจุดสูงสุดได้   ประเด็นต่าง ๆ เหล่านี้จะช่วยให้ครัวเรือนหลุดพ้นจากกับดักความยากจนจากคนรุ่นก่อน ช่วยส่งเสริมกลุ่มประชากรสูงวัย และกระตุ้นโอกาสการเติบโตของประเทศไทย

You'll be able to find out more about our utilization of cookies from our Cookies Plan. By clicking “Accept All Cookies”, you comply with the storing and usage of cookies in your machine to enhance web site navigation, assess site usage, and to aid inside our public relations initiatives.

เศรษฐกิจรัฐธรรมนูญ: พลวัตของบทบัญญัติรัฐธรรมนูญในทางเศรษฐกิจ

รูปแบบถัดมา คือ “การออมแบบผ่อนส่ง” ผ่านนายทุนนอกระบบ สจวร์ต กล่าวโดยสรุปว่า ในสภาพแวดล้อมที่อุปสงค์ของบริการเงินออมมีสูงกว่าอุปทานมาก ไม่น่าแปลกใจที่เงินกู้สำหรับคนจนจะเป็นแค่อีกวิธีในการแปลงเงินออมให้เป็นเงินก้อน “เงินกู้นอกระบบ” แบบนี้ นายทุนจะเป็นคนตัดสินใจด้วยการกำหนดมูลค่าของเงินกู้ หรืออย่างน้อยก็กำหนดเป็นมูลค่าสูงสุด รวมถึงตารางการผ่อนส่งเพื่อชำระหนี้ นั่นหมายถึงนายทุนจะเป็นผู้ประเมินความสามารถในการออมของลูกค้า

ดร.สมชัย เสนอถึงรูปแบบของช่องทางที่จะทำให้คนจนเข้าถึงการลงทะเบียนและเข้าไปอยู่ในฐานข้อมูลผู้มีรายได้น้อยของรัฐ เช่น การจัดให้มีหน่วยเคลื่อนที่ หรือใช้กลไกในชุมชนช่วยลงทะเบียนให้ เช่น ผู้ใหญ่บ้าน ผู้นำท้องถิ่น อาสาสมัครสาธารณสุข (อสม.) ที่เข้าไปเดินตามบ้าน

เมื่อยาหลอนประสาทยุคโบราณ สอนบทเรียนให้การแพทย์ตะวันตกสมัยใหม่

แต่การจัดสรรสวัสดิการอย่างเหมาะสมได้ ภาครัฐต้องมีข้อมูลที่ถูกต้อง แม่นยำ และตรงกับความเป็นจริง ‘รศ.กนกวรรณ มะโนรมย์’ อาจารย์ประจำสาขาวิชาสังคมศาสตร์ คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี มองว่า สิ่งที่ต้องทำอย่างเร่งด่วน วิกฤตคนจน และถือเป็นจุดเริ่มต้นของการแก้ปัญหาความจนอย่างมีประสิทธิภาพ คือ การทบทวนฐานข้อมูลภาครัฐเกี่ยวกับคนจน และผู้มีรายได้น้อย เพราะจากการลงพื้นที่ ‘คนจน’ ไม่ได้แบ่งแยกเพียงเส้นแบ่งความจน หรือรายได้ในแต่ละปี แต่ยังมีความสลับซับซ้อนมากกว่านั้น และไม่ควรใช้ข้อมูลการรับสวัสดิการที่ไร้ซึ่งการตรวจสอบความถูกต้อง อย่าง ‘บัตรสวัสดิการแห่งรัฐ’ หรือ ‘บัตรคนจน’ เพราะหลายกรณีที่เกิดขึ้น คือ “คนจนจริงไม่ได้ คนที่ได้กลับไม่จน” เพราะคนจนจริง ๆ ไม่สามารถเข้าถึงการลงทะเบียนได้ ก่อให้เกิดความเหลื่อมล้ำตั้งแต่แรก

สถาบันระหว่างประเทศเพื่อการค้าและการพัฒนา (องค์การมหาชน)

รองนายกจีนฯ เน้นย้ำสานต่อผลสำเร็จ 'ฟื้นฟูชนบท'

และนี่คือตัวอย่างที่น่าสนใจของความพยายามในการพัฒนาวิธีการวัดความยากจนด้วยวิธีการใหม่ๆ เพื่อตอบโจทย์ข้อจำกัดโดยเฉพาะในยามวิกฤต

ผู้ทำงานอาชีพรับจ้างทั่วไปและเก็บของเก่า ซึ่งอาศัยอยู่ในชุมชนพูนทรัพย์ เขตสายไหม กรุงเทพมหานคร บอกกับบีบีซีไทยว่า อากาศที่ร้อนมากขึ้นกำลังส่งผลกระทบต่อสุขภาพ และทำให้พวกเขาต้องจ่ายค่าน้ำค่าไฟเพิ่มขึ้นเป็นเท่าตัว เนื่องจากใช้ไฟและน้ำมากขึ้น ทั้งที่รายได้เท่าเดิม

Report this page